โรคที่พบบ่อย ใน มะนาว ที่สำคัญได้แก่
1 โรคแคงเกอร์
2 โรครากเน่า โคนเน่า
3 โรคราน้ำหมาก
4 โรคขี้กลาก Scab
5 โรคขาดธาตุอาหาร
ผม เภสัชเอก ขอ สรุป แนวทางการป้องกันโรคดังนี้
แคงเกอร์ ใน มะกรูด |
1 โรคแคงเกอร์ คือ โรคจากเชื้อแบคทีเรีย ทำลายใบ กิ่ง และ ผลมะนาว เสียหาย
การป้องกัน ใช้กิ่งพันธุ์ปลอดโรค และ แช่กิ่งพันธุ์ในน้ำยาฆ่าเชื้อ แนะนำ Super C นาน 30 นาที
รวมโรคแคงเกอร์ |
อาจพ่นยาป้องกันโรคโดย ใช้ Killer B หรือ Nano Zinc พ่นป้องกันโรคแคงเกอร์ ปีละ 4 ครั้ง
ใน ปลายเดือนมีนาคม ปลายเมษายน ต้น กรกฏาคม และ ต้นกันยายน ของทุกปี และ ตัดแต่ง กิ่งใบ
ให้ โปร่ง ไม่แน่นทึบ แสงเข้าได้ปีละ 2 ครั้ง
2 โรครากเน่า โคนเน่า เกิดจากเชื้อราหลายชนิด หรือ อาจเกิดจากน้ำท่วมขัง จนรากเน่า
เครื่องวัด pH |
การป้องกัน ปลูกมะนาวยกร่องลูกฟูงสูง 50 ถึง 60 เซนติเมตร เพื่อ ป้องกันน้ำท่วมขั
จุ่มรากมะนาวในเชื้อไตรโครเดอร์ม่า ก่อนปลูก และ เติม เชื้อไตรโครเดอร์ม่า ลงดิน
หัวเชื้อไตรโครเดอร์ม่า |
ปีละ 3 ครั้ง ผสมกับ เติมเชื้อแบคทีเรีย Killer B ลงดินรอบทรงพุ่มปีละ 2 ครั้ง
สุดท้าย ปรับ pH ดิน ให้ได้ ประมาณ 6.0 - 7.0 โดย ต้อง ตรวจสอบ สภาพดินอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
ปูนขาวแก้ดินเป็นกรด |
3 โรคราน้ำหมาก หรือ เมลาโนส เกิดจากเชื้อรา ทำให้ ใบ กิ่ง และ ผลมะนาวมีคราบดำ น่าเกลียด
Super C ฆ่าเชื้อทุกชนิด |
การป้องกัน ตัดแต่ง กิ่งใบ ให้ โปร่ง ไม่แน่นทึบ แสงเข้าได้ปีละ 2 ครั้ง และพ่นยา
ราน้ำหมาก เมลาโนส |
Super C หรือ Nano Zinc ป้องกันราน้ำหมาก ใน ต้นเดือน มิถุนายน และ พฤศจิกายน ของทุกปี
ราน้ำหมาก |
4 โรคขี้กลาก Scab เกิดจากเชื้อรา ทำให้ใบ และผล มี ตุ่มนูนสีน้ำตาล ชาวสวนหลายคน เข้าใจผิด
ว่า เป็นโรคแคงกอร์ แต่ไม่ใช่ เพราะลักษณะจะต่างกันชัดเจน การป้องกัน ตัดแต่ง กิ่งใบ ให้
โรคขี้กลาก Scab |
โปร่ง ไม่แน่นทึบ แสงเข้าได้ปีละ 2 ครั้ง และพ่นยา Super C หรือ Nano Zinc ป้องกัน
โรคขี้กลาก ใน ต้นเดือน มิถุนายน และ พฤศจิกายน ของทุกปี
โรคแคงเกอร์ |
5 โรคขาดธาตุอาหาร จะพบในธาตุหลายชนิด ได้แก่ N Mg Zn Ca B Fe และ Mn
ขาดไนโตรเจน |
ทำให้การเจริญเติบโตมีปัญหา รุนแรง ส่งผลต่อการออกดอก ติดผล ของมะนาว
ขาดสังกะสี |
การป้องกัน ปรับ pH ดิน ให้ได้ ประมาณ 6.0 - 7.0 โดย ต้อง ตรวจสอบ สภาพดิน
ขาดฟอสฟอรัส |
อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง และ ให้ ธาตุอาหาร รวม ทางใบปีละ 4 ครั้ง และ ควรให้ ปุ๋ยทางใบ
ขาดธาตุเหล็ก |
สูตร โยกหน้า อย่างน้อยปีละ 6 ครั้ง และสุดท้าย ต้องตรวจวิเคราะห์ดิน ปีละ 1 ครั้ง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น