เมื่อ มีการสร้างลำต้นหลัก หรือ หน้าแข้ง แล้ว ขั้นต่อไป คือ สร้าง 3 กิ่ง หลัก
โดยแต่ละกิ่งทำมุม กัน 120 องศา และ ระยะห่าง แต่ละกิ่ง คือ 10 เซนติเมตร
หลักจากนั้น จึง แตก กิ่งรอง แต่ละ กิ่งหลัก ละ 2 กิ่ง สรุป คือ สร้าง 3 กิ่งหลัก
และ สร้าง 6 กิ่งรอง ที่แตกออกมา จากกิ่งหลัก 2 กิ่งนั้นเอง โดยต้องไว้ระยะ
กิ่งหลักสัก 30 เซนติมเตร จึงมี กิ่งรองแตกออก มา กิ่ง ละ 2 กิ่งรอง ต่อ 1 กิ่งหลัก
เหตุผล ในการ ให้กิ่งหลัก ทำมุม กัน 120 องศา เพื่อ สร้างสมดุลของกิ่ง ให้พอดี
คือ 3 กิ่งหลัก จะแตกออกเป็น 3 ทิศทาง อย่างสมดุลนั่นเอง ทำให้ โครงสร้างกิ่ง
แข็งแรงที่สุด เนื่องจากมีการกระจายแรง ที่เหมาะสม พอดีกัน ทั้ง 3 กิ่งหลักนั่นเอง
ส่วนระยะห่าง แต่ละกิ่งหลัก ควรห่าง อย่างน้อย 10 เซนติเมตร เพราะ ต้องการให้
กิ่งหลักมีระยะห่างไม่เบียดชิดกันมากเกินไป จน เกิดการเบียด บังแสงกัน นั่นเอง
และ กิ่งที่เกิดมา ไม่ควรเป็นกิ่งมุมแคบ เพราะ จะเกิดปัญหาเนื้อไม้ตาย เน่าได้
เริ่มต้นธุรกิจเงินล้าน กับ การเป็นเกษตรกร สวนมะนาว สาระความรู้ ประสบการณ์ การปลูกมะนาว รีวิว ปุ๋ย ยาปราบศัตรพืช หนังสือที่เกี่ยวข้อง กับ มะนาว
วันจันทร์ที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2560
วันอาทิตย์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2560
การป้องกันโรคที่พบบ่อยในมะนาว
โรคที่พบบ่อย ใน มะนาว ที่สำคัญได้แก่
1 โรคแคงเกอร์
2 โรครากเน่า โคนเน่า
3 โรคราน้ำหมาก
4 โรคขี้กลาก Scab
5 โรคขาดธาตุอาหาร
ผม เภสัชเอก ขอ สรุป แนวทางการป้องกันโรคดังนี้
แคงเกอร์ ใน มะกรูด |
1 โรคแคงเกอร์ คือ โรคจากเชื้อแบคทีเรีย ทำลายใบ กิ่ง และ ผลมะนาว เสียหาย
การป้องกัน ใช้กิ่งพันธุ์ปลอดโรค และ แช่กิ่งพันธุ์ในน้ำยาฆ่าเชื้อ แนะนำ Super C นาน 30 นาที
รวมโรคแคงเกอร์ |
อาจพ่นยาป้องกันโรคโดย ใช้ Killer B หรือ Nano Zinc พ่นป้องกันโรคแคงเกอร์ ปีละ 4 ครั้ง
ใน ปลายเดือนมีนาคม ปลายเมษายน ต้น กรกฏาคม และ ต้นกันยายน ของทุกปี และ ตัดแต่ง กิ่งใบ
ให้ โปร่ง ไม่แน่นทึบ แสงเข้าได้ปีละ 2 ครั้ง
2 โรครากเน่า โคนเน่า เกิดจากเชื้อราหลายชนิด หรือ อาจเกิดจากน้ำท่วมขัง จนรากเน่า
เครื่องวัด pH |
การป้องกัน ปลูกมะนาวยกร่องลูกฟูงสูง 50 ถึง 60 เซนติเมตร เพื่อ ป้องกันน้ำท่วมขั
จุ่มรากมะนาวในเชื้อไตรโครเดอร์ม่า ก่อนปลูก และ เติม เชื้อไตรโครเดอร์ม่า ลงดิน
หัวเชื้อไตรโครเดอร์ม่า |
ปีละ 3 ครั้ง ผสมกับ เติมเชื้อแบคทีเรีย Killer B ลงดินรอบทรงพุ่มปีละ 2 ครั้ง
สุดท้าย ปรับ pH ดิน ให้ได้ ประมาณ 6.0 - 7.0 โดย ต้อง ตรวจสอบ สภาพดินอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
ปูนขาวแก้ดินเป็นกรด |
3 โรคราน้ำหมาก หรือ เมลาโนส เกิดจากเชื้อรา ทำให้ ใบ กิ่ง และ ผลมะนาวมีคราบดำ น่าเกลียด
Super C ฆ่าเชื้อทุกชนิด |
การป้องกัน ตัดแต่ง กิ่งใบ ให้ โปร่ง ไม่แน่นทึบ แสงเข้าได้ปีละ 2 ครั้ง และพ่นยา
ราน้ำหมาก เมลาโนส |
Super C หรือ Nano Zinc ป้องกันราน้ำหมาก ใน ต้นเดือน มิถุนายน และ พฤศจิกายน ของทุกปี
ราน้ำหมาก |
4 โรคขี้กลาก Scab เกิดจากเชื้อรา ทำให้ใบ และผล มี ตุ่มนูนสีน้ำตาล ชาวสวนหลายคน เข้าใจผิด
ว่า เป็นโรคแคงกอร์ แต่ไม่ใช่ เพราะลักษณะจะต่างกันชัดเจน การป้องกัน ตัดแต่ง กิ่งใบ ให้
โรคขี้กลาก Scab |
โปร่ง ไม่แน่นทึบ แสงเข้าได้ปีละ 2 ครั้ง และพ่นยา Super C หรือ Nano Zinc ป้องกัน
โรคขี้กลาก ใน ต้นเดือน มิถุนายน และ พฤศจิกายน ของทุกปี
โรคแคงเกอร์ |
5 โรคขาดธาตุอาหาร จะพบในธาตุหลายชนิด ได้แก่ N Mg Zn Ca B Fe และ Mn
ขาดไนโตรเจน |
ทำให้การเจริญเติบโตมีปัญหา รุนแรง ส่งผลต่อการออกดอก ติดผล ของมะนาว
ขาดสังกะสี |
การป้องกัน ปรับ pH ดิน ให้ได้ ประมาณ 6.0 - 7.0 โดย ต้อง ตรวจสอบ สภาพดิน
ขาดฟอสฟอรัส |
อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง และ ให้ ธาตุอาหาร รวม ทางใบปีละ 4 ครั้ง และ ควรให้ ปุ๋ยทางใบ
ขาดธาตุเหล็ก |
สูตร โยกหน้า อย่างน้อยปีละ 6 ครั้ง และสุดท้าย ต้องตรวจวิเคราะห์ดิน ปีละ 1 ครั้ง
วันอังคารที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2560
วิธีง่ายๆ ในการเปลี่ยน ดินเลว เป็น ดินดี
ดินดี ปลูกอะไรก็ งาม จริงไหม ครับ พี่น้องเกษตรกร
แต่ถ้าดินในสวนเรา มันแย่ มัน ไม่ได้เรื่อง จะทำอย่างไร
ต่อ ไปนี้ คือ เคล็ดลับ ในการ เปลี่ยน ดิน เลว เป็น ดินดี
ให้ ทำตาม วิธีการต่อไปนี้ ได้เลย ครับ
1 ทำให้ดินให้เป็น กรดอ่อน pH ประมาณ 6.5
ส่วนมาก ดินประเทศไทย จะเป็นกรดมาก ไป pH จะอยู่ที่ 4.0 ถึง 5.0
ดินกรดแบบนี้ ทำให้ พืชดูดปุ๋ย ธาตุอาหาร ได้น้อยลงกว่า ร้อยละ 80
ต่อให้เกษตรกร อัดปุ๋ยเข้าไป ในดินมากมาย พืชก็ยัง ขาดอาหารอยู่ดี
ทางแก้ ให้ ค่อยๆ เติม ปูนขาว โดโลไมท์ หรือ pH11 ของ TPI
ลงดิน เรื่อยๆ ทุก สัปดาห์ จนได้ ดิน pH ประมาณ 6.5 ถือว่าใช้ได้
2 เพิ่มอินทรีย์วัตดุในดิน ให้มากพอ
แนะนำให้ใช้แกลบเผา สลับ ปุ๋ยคอกเก่า แนะนำ ขี้หมู ขี้ไก่ ที่ผ่านการ
หมักแล้ว หรือ เก็บไว้นานอย่างน้อย 40 วัน นอกจากนี้อาจใช้ ปุ๋ยพืชสด
หรือ ปุ๋ยหมักทำเอง มาใส่ ในดิน ที่จะมีการปลูกพืชก็ได้ครับ เป็นการช่วย
เพิ่ม ธาตุอาหารในดินด้วย
3 สร้างเกราะคุ้มครองพืช ด้วยการใช้ เชื้อราฮีโร่ และ แบคทีเรียพระเอก
นำ เชื้อราฮีโร่ และ แบคทีเรียพระเอก เติม ลงในดิน อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
แบคทีเรีย ที่แนะนำ คือ Killer B คิลเลอร์ บี จะช่วย ป้องกันโรครากเน่า โคนเน่า
และ เร่งการเจริญเติบโต ของต้นไม้ ช่วยย่อยสลายอินทรีย์วัตถุ เพิ่มอาหาร ในดิน
ส่วน เชื้อราฮีโร่ คือ ไตรโคเดอร์ม่า ป้องกันโรครากเน่า โคนเน่า สร้างภูมิต้านทานโรค
หลายชนิด ให้ กับต้นไม้หลายสายพันธุ์ และ ช่วยย่อย ปุ๋ย ให้ สามาถไปใช้ได้ดีขึ้น
4 เพิ่มการระบายน้ำในดิน เพื่อป้องกันรากเน่า+ ทำนอกฤดู
หากดินเหนียวมาก ให้เติมทรายหยาบ ลงไป ผสม ให้ดินระบายน้ำได้ดีขึ้น
นอกจากนี้ การยกร่องสูง 60 เซนติเมตร จะ ทำให้ ระบายน้ำได้ดี ลดปัญหา
น้ำท่วมขังลงได้ดีมาก การที่มีน้ำท่วงขังรากพืช จะทำให้รากเน่า ตามมา
สนใจ ศึกษา รายละเอียด ประโยชน์ ของ คิลเลอร์ บี Killer B คลิก https://goo.gl/ySLA6t
วันจันทร์ที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2560
ตัดแต่งกิ่งตอนแรก
การตัดแต่งกิ่งสำหรับไม้ผลขั้นแรก
ไม่ว่าจะเป็นมะนาว ส้ม ฝรั่ง ก็คือ การเลี้ยงหน้าแข้ง
โดยหากปลูกลงดินต้องสร้าง ลำต้นหลักสูง 60 เซนตริเมตร ก่อน
ส่วน ของหน้าแข้ง เพื่อเป็นลำต้นหลักเดี่ยวๆ เพื่อความแข็งแรง
หมายเหตุ กรณี ปลูกใน ภาชนะ เลี้ยงหน้าแข้ง 30 เซนติเมตรพอ
ไม้ผลต้องมีหน้าแข้งสูง 60 เซนติเมตร |
และ การลำเลียงน้ำ อาหารอย่างสมบูรณ์ ส่วนสูง 60 เซนติมเตร
ไม่ควรมีกิ่งก้านใบแตกออกมาเลยจะดีกว่า พอพ้นระยะหน้าแข้งจึง
ให้มี กิ่งก้านแตก ออกมาได้ โดย ควรมี กิ่งหลัก 2-4 กิ่ง กำลังดี
ขึ้นเป็นพุ่มไม่มีลำต้นหลักผิดโครงสร้าง |
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)