มะนาว เป็นพืชที่ราคา มีขึ้น มีลง โดยเฉพาะ ในช่วงนี้ ราคามะนาวเริ่มตกต่ำ
แต่อย่างไรก็ตาม หากมีน้ำท่วมใหญ่ ก็จะทำให้มะนาวตายจำนวนมากราคา
ก็จะเพิ่มสูงได้
การวางแผนปลูกมะนาวนอกฤดูเพื่อเพิ่มโอกาสทำกำไร
ราคามะนาวจะแพงมากในเดือน เมษายน และ พฤษภาคม ทุกปี
และราคาจะถูกมาก ในเดือน กรกฏาคม สิงหาคม และ กันยายน ของทุกปีเช่นกัน
เพื่อเป็นการกระจายความเสี่ยง ควรทำมะนาว ขาย 2 รุ่น คือ รุ่นเดือนเมษายน
อีกรุ่นคือ พฤษภาคม โดยปกติมะนาว ตั้งแต่ออกดอก ถึงเก็บผลใช้เวลา 5 เดือน
หากจะขายช่วงมะนาวแพง ต้องออกดอก เดือน พฤศจิกายน ถึงธันวาคม ดังนั้น
จะเริ่มตัดปลายยอดมะนาว ทุกกิ่งในช่วงวันที่ 15 กรกฏาคม ถึง 15 สิงหาคม เท่านั้น
การปลูกพืชอื่นๆ เพื่อกระจายความเสี่ยง
1 แนะนำขั้นต้นปลูกพืชที่ดูแลคล้ายมะนาว ซึ่งได้แก่ มะกรูด เลมอน และ ส้ม
2 ปลูกพืชแซมระหว่างแถวมะนาว แนะนำ มะละกอ พริกขี้หนู และ กล้วยหอม
3 ปลูกพืชริมรั้ว หรือ ปลายสวน แนะนำ ปลูกไผ่รวก ชะอม และ สะเดา
4 ปลูกพืชที่ช่วยกำจัด หนอน แมลง ศัตรูพืช ได้แก่ สะเดา คูน ขมิ้นชัน ยาสูบ
มะกรูด ดูแลง่ายกว่ามะนาว ปลูกระยะชิด ตัดใบขายทุก 50 วัน
เลมอน ทนโรคแคงเกอร์มากกว่า ราคาดีทั้งปี คนปลูกน้อย
ส้ม ราคายังดีเรื่อยๆ แนวโน้มทั่วโลก ส้มขาดแคลน
พริกขี้หนู ขายง่าย ราคาดี และ ใช้ไล่เพลี้ยได้
ไผ่รวก ใช้เป็น ไม้ค้ำในสวนมะนาว
ชะอม ยอดอ่อน ขายได้ กิ่งมีหนาม ป้องกัน ผู้บุกรุก
สะเดา ดอกอ่อนกินได้ เมล็ดใช้ฆ่าแมลง ไม้ใช้สอยได้
คูน ฝักแก่ ใช้กำจัดแมลงได้ดี
ยาสูบ และ ขมิ้นชัน กำจัดหนอน เพลี้ย ผีเสื้อได้ดี
เริ่มต้นธุรกิจเงินล้าน กับ การเป็นเกษตรกร สวนมะนาว สาระความรู้ ประสบการณ์ การปลูกมะนาว รีวิว ปุ๋ย ยาปราบศัตรพืช หนังสือที่เกี่ยวข้อง กับ มะนาว
วันพฤหัสบดีที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2560
วันเสาร์ที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2560
ปัจจัยที่ ทำให้มะนาวออกดอก นอกฤดู
การขายผลมะนาวราคาแพงในช่วง เดือนพฤษภาคม นั้น เราต้องให้มะนาว
ออกดอก ใน ช่วง วันที่ 15 พฤศจิกายน ถึง 5 ธันวาคม เป็นอย่างช้า ก็จะสามารถ
ขายมะนาวในช่วงแพงที่สุด ได้ โดยมี ปัจจัยสำคัญดังต่อไปนี้
1 ใบมะนาวต้องแก่พอ อายุ ประมาณ 90-120 วัน ให้นับจากตัดปลายยอดมะนาว
ดังนั้น ควรตัด ปลายยอดมะนาว ประมาณ วันที่ 25 กรกฏาคม ถึง 3 กันยายน เมื่อตัด
ปลายยอดมะนาวแล้ว เราจะให้ น้ำ+ ปุ๋ยโยกหน้าทางดิน อย่างมากพอ เพื่อกระตุ้นให้
เกิดการแตกใบอ่อน พร้อมๆ กัน หลังตัดปลายยอด โดยเร็ว นอกจากนี้ การปรับแก้ดิน
เป็นกรด โดยการใช้ ปูนขาว หรือ โดโลไมท์ ก็จำเป็นมากด้วย โดยปรับให้ pH = 6.5
และเมื่อมีใบอ่อนแตกออกมาให้ รีบพ่น ยาฆ่าแมลงสูตร 1-4-8 ตามนี้
สูตรทั่วไป วันที่ 1 ฟิโพรนิล วันที่ 4 อิมิดาคลอพริด วันที่ 8 อะบาเม็กติน
สูตรปลอดสารพิษ วันที่ 1 ไวท์ออยล์ วันที่ 4 บิววาเรีย + ใบยาสูบ วันที่ 8 บิววาเรีย +บีที
2 ความสมบูรณ์ ในการสะสมอาหาร ของต้นมะนาว ซึ่งขึ้นกับ การสังเคราะห์แสง
โดยใบจะต้องมีแต่ใบแก่จัด คือ สามารถ ยับยั้งการแตกใบอ่อนได้ในช่วง เดือน
1 ตุลาคม ถึง 15 พฤศจิกายน ไม่ควรมีการแตกใบอ่อน ยกเว้น ช่วงที่จะให้ออกดอก
เท่านั้น นั่นก็ ช่วง ก่อน วันที่ 15 พฤศจิกายน ต้องไม่มีการแตกใบอ่อน กรณี ออก
ดอกในวันที่ 15 พฤศจิกายน เพราะใบอ่อน จะ สังเคราะห์แสง ได้น้อยมาก
กรณี จะให้มะนาวออกดอก เดือน ธันวาคม ในช่วง 15 ตุลาคม ถึง 30 พฤศจิกายน
ต้องไม่มีการแตกใบอ่อน โดย เราจะใช้ แพคโคบิวทาโซล และ ปุ๋ยโยกหลังทางใบ
เป็นตัว ป้องกันการแตกใบอ่อน ก่อนเวลาที่กำหนด
3 การได้รับธาตุอาหาร อย่างเพียงพอ ก่อนที่มะนาวจะออกดอก ใน ระยะที่กำหนด
โดยหลังจาก ใบมะนาวแตกใบอ่อนออกมาใหม่ ต้องได้ ปุ๋ยโยกหน้าทางใบ ทุก 7-10 วัน
อย่างน้อย 1 เดือน โดยให้ ปุ๋ยนกเงือกเขียว หรือ ปุ๋ย นูเทค ไฮเอ็น โดยให้หลังตัดปลายยอด
มะนาวประมาณ 1 สัปดาห์ เมื่อ ใบมะนาวอายุครบ 30 วัน ให้ เปลี่ยนสูตร เป็น ปุ๋ยโยกหลัง
ทางใบ โดย ต้องให้ ปุ๋ยโยกหลังทางใบ นาน ราวๆ 60 วัน แล้วจึงค่อยเปิดตาดอก
นอกจากนี้ ควรเสริมด้วยธาตุอาหาร รวมด้วย สำหรับ ปุ๋ยโยกหลังที่แนะนำ คือ ปุ๋ยยี่ห้อ
ชาลีเฟท 10-20-30 สีทอง หรือ ปุ๋ยนกเงือกแดง ก็เป็นตัวเลือกที่ดี นอกจากนี้ อาจใช้
ปุ๋ย นูเทค ซุปเปอร์เค ก็ได้อีกด้วย
4 อากาศหนาวเย็น ช่วงก่อนออกดอก สัก 15 วัน หากพบว่า มี อุณหภูมิ ต่ำๆ ใน ช่วงเดือน
พฤศจิกายน จะช่วยให้มะนาว ออกดอก นอกฤดูได้ดี โดยเฉพาะ หาก อุณหภูมิต่ำกว่า
12 องศาเซลเซียสมะนาว จะออกดอกแน่นอน
5 การอดน้ำก่อนออกดอก ประมาณ 30 วัน หากมะนาวไม่ได้น้ำทางดิน หรือ มี ฝนตกเลย
มะนาวจะเกิดความเครียด และ ยังไม่มีการแตกใบอ่อน แน่นอน ทำให้ มะนาวมีความพร้อม
จะออกดอกมากขึ้น หากเปิดตาดอก ในช่วงใบแก่มะนาว เริ่มแสดงอาการขาดน้ำเล็กน้อย
โอกาสดอกจะมีมากขึ้นแน่นอน กรณีมีฝนตกในช่วงนี้ เราจะใช้ ปุ๋ยทางใบสูตร 0-52-34
หรือ ปุ๋ยทางดินสูตร 0-0-60 ในการป้องกันมะนาวแตกใบอ่อน หรือ อาจใช้ฮอร์โมนเข้าช่วย
แนะนำ ยี่ห้อ MEP หรือ เม็พ จะได้ผลดีหากฝนตกมาก
ออกดอก ใน ช่วง วันที่ 15 พฤศจิกายน ถึง 5 ธันวาคม เป็นอย่างช้า ก็จะสามารถ
ขายมะนาวในช่วงแพงที่สุด ได้ โดยมี ปัจจัยสำคัญดังต่อไปนี้
1 ใบมะนาวต้องแก่พอ อายุ ประมาณ 90-120 วัน ให้นับจากตัดปลายยอดมะนาว
ดังนั้น ควรตัด ปลายยอดมะนาว ประมาณ วันที่ 25 กรกฏาคม ถึง 3 กันยายน เมื่อตัด
ปลายยอดมะนาวแล้ว เราจะให้ น้ำ+ ปุ๋ยโยกหน้าทางดิน อย่างมากพอ เพื่อกระตุ้นให้
เกิดการแตกใบอ่อน พร้อมๆ กัน หลังตัดปลายยอด โดยเร็ว นอกจากนี้ การปรับแก้ดิน
เป็นกรด โดยการใช้ ปูนขาว หรือ โดโลไมท์ ก็จำเป็นมากด้วย โดยปรับให้ pH = 6.5
และเมื่อมีใบอ่อนแตกออกมาให้ รีบพ่น ยาฆ่าแมลงสูตร 1-4-8 ตามนี้
สูตรทั่วไป วันที่ 1 ฟิโพรนิล วันที่ 4 อิมิดาคลอพริด วันที่ 8 อะบาเม็กติน
สูตรปลอดสารพิษ วันที่ 1 ไวท์ออยล์ วันที่ 4 บิววาเรีย + ใบยาสูบ วันที่ 8 บิววาเรีย +บีที
2 ความสมบูรณ์ ในการสะสมอาหาร ของต้นมะนาว ซึ่งขึ้นกับ การสังเคราะห์แสง
โดยใบจะต้องมีแต่ใบแก่จัด คือ สามารถ ยับยั้งการแตกใบอ่อนได้ในช่วง เดือน
1 ตุลาคม ถึง 15 พฤศจิกายน ไม่ควรมีการแตกใบอ่อน ยกเว้น ช่วงที่จะให้ออกดอก
เท่านั้น นั่นก็ ช่วง ก่อน วันที่ 15 พฤศจิกายน ต้องไม่มีการแตกใบอ่อน กรณี ออก
ดอกในวันที่ 15 พฤศจิกายน เพราะใบอ่อน จะ สังเคราะห์แสง ได้น้อยมาก
กรณี จะให้มะนาวออกดอก เดือน ธันวาคม ในช่วง 15 ตุลาคม ถึง 30 พฤศจิกายน
ต้องไม่มีการแตกใบอ่อน โดย เราจะใช้ แพคโคบิวทาโซล และ ปุ๋ยโยกหลังทางใบ
เป็นตัว ป้องกันการแตกใบอ่อน ก่อนเวลาที่กำหนด
3 การได้รับธาตุอาหาร อย่างเพียงพอ ก่อนที่มะนาวจะออกดอก ใน ระยะที่กำหนด
โดยหลังจาก ใบมะนาวแตกใบอ่อนออกมาใหม่ ต้องได้ ปุ๋ยโยกหน้าทางใบ ทุก 7-10 วัน
อย่างน้อย 1 เดือน โดยให้ ปุ๋ยนกเงือกเขียว หรือ ปุ๋ย นูเทค ไฮเอ็น โดยให้หลังตัดปลายยอด
มะนาวประมาณ 1 สัปดาห์ เมื่อ ใบมะนาวอายุครบ 30 วัน ให้ เปลี่ยนสูตร เป็น ปุ๋ยโยกหลัง
ทางใบ โดย ต้องให้ ปุ๋ยโยกหลังทางใบ นาน ราวๆ 60 วัน แล้วจึงค่อยเปิดตาดอก
นอกจากนี้ ควรเสริมด้วยธาตุอาหาร รวมด้วย สำหรับ ปุ๋ยโยกหลังที่แนะนำ คือ ปุ๋ยยี่ห้อ
ชาลีเฟท 10-20-30 สีทอง หรือ ปุ๋ยนกเงือกแดง ก็เป็นตัวเลือกที่ดี นอกจากนี้ อาจใช้
ปุ๋ย นูเทค ซุปเปอร์เค ก็ได้อีกด้วย
4 อากาศหนาวเย็น ช่วงก่อนออกดอก สัก 15 วัน หากพบว่า มี อุณหภูมิ ต่ำๆ ใน ช่วงเดือน
พฤศจิกายน จะช่วยให้มะนาว ออกดอก นอกฤดูได้ดี โดยเฉพาะ หาก อุณหภูมิต่ำกว่า
12 องศาเซลเซียสมะนาว จะออกดอกแน่นอน
5 การอดน้ำก่อนออกดอก ประมาณ 30 วัน หากมะนาวไม่ได้น้ำทางดิน หรือ มี ฝนตกเลย
มะนาวจะเกิดความเครียด และ ยังไม่มีการแตกใบอ่อน แน่นอน ทำให้ มะนาวมีความพร้อม
จะออกดอกมากขึ้น หากเปิดตาดอก ในช่วงใบแก่มะนาว เริ่มแสดงอาการขาดน้ำเล็กน้อย
โอกาสดอกจะมีมากขึ้นแน่นอน กรณีมีฝนตกในช่วงนี้ เราจะใช้ ปุ๋ยทางใบสูตร 0-52-34
หรือ ปุ๋ยทางดินสูตร 0-0-60 ในการป้องกันมะนาวแตกใบอ่อน หรือ อาจใช้ฮอร์โมนเข้าช่วย
แนะนำ ยี่ห้อ MEP หรือ เม็พ จะได้ผลดีหากฝนตกมาก
วันอังคารที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2560
ตารางปฏิบัติงานเปิดตาดอกมะนาว ธันวาคม
ประมาณ 15 ตุลาคม ตรวจ วัด pH ดิน ปรับให้ได้ 6.0 - 7.0 ช่วงเช้า
ปุ๋ยนกเงือกแดง |
+ พ่น อะบาเม็กติน หรือ แบบปลอดสารพิษ ใช้ ไวท์ออย พ่นตอนเย็น
แพคโคบิวทาโซล 15% หนัก 53 กรัม ต่อ น้ำ 20 ลิตร พ่นใบ บางๆ พอเปียก
อะบาเม็กติน |
ประมาณ 22 ตุลาคม ใส่ ไตรโคเดอร์ม่า ลงดิน + ปุ๋ย 0-0-60 ต้นละ 200 - 300 กรัม
ไตรโคเดอร์ม่า |
ปุ๋ย 0-0-60 |
ให้ปุ๋ยโยกหลังทางใบ นกเงือกแดง 40 กรัม ผสมน้ำ 20 ลิตร
+ พ่น อะบาเม็กติน หรือ แบบปลอดสารพิษ ใช้ ไวท์ออย พ่นตอนเย็น
แพคโคบิวทาโซล |
ประมาณ 29 ตุลาคม พ่น Super C เพื่อทำลายเชื้อโรคทั้งหมด 1 ซอง ต่อ 20 ลิตร
Super C |
ให้ปุ๋ยโยกหลังทางใบ นกเงือกแดง 40 กรัม ผสมน้ำ 20 ลิตร ปุ๋ยชาลีเฟท 10-20-30
หากฝนตก ให้ใช้ ปุ๋ยทางใบ สูตร 0-52-34 100 กรัม ต่อ น้ำ 20 ลิตร พ่นหลังฝนตก ทันที
ใช้ตอนฝนตก |
ประมาณ 5 พฤศจิกายน งดน้ำทุกชนิด ใช้ หัวใจสิงห์ พ่นป้องกันโรคแคงเกอร์ + ราน้ำหมาก
หัวใจสิงห์ปราบโรคพืช |
ให้ปุ๋ยโยกหลังทางใบ นกเงือกแดง 40 กรัม ผสมน้ำ 20 ลิตร ปุ๋ยชาลีเฟท 10-20-30
หากฝนตก ให้ใช้ ปุ๋ยทางใบ สูตร 0-52-34 100 กรัม ต่อ น้ำ 20 ลิตร พ่นหลังฝนตก ทันที
ปุ๋ยชาลีเฟท 10-20-30 |
พ่น อิมิดาคลอพริด หรือ แบบปลอดสารพิษ ใช้ ไวท์ออย พ่นตอนเย็น
อิมิดาคลอพริดน้ำ |
ประมาณ 12 พฤศจิกายน งดน้ำทุกชนิด ใช้ หัวใจสิงห์ พ่นป้องกันโรคแคงเกอร์ + ราน้ำหมาก
ให้ปุ๋ยโยกหลังทางใบ นกเงือกแดง 40 กรัม ผสมน้ำ 20 ลิตร ปุ๋ยชาลีเฟท 10-20-30
หากฝนตก ให้ใช้ ปุ๋ยทางใบ สูตร 0-52-34 100 กรัม ต่อ น้ำ 20 ลิตร พ่นหลังฝนตก ทันที
หากฝนตก ให้ใช้ ปุ๋ยทางใบ สูตร 0-52-34 100 กรัม ต่อ น้ำ 20 ลิตร พ่นหลังฝนตก ทันที
ประมาณ 19 พฤศจิกายน งดน้ำทุกชนิด ใช้ หัวใจสิงห์ พ่นป้องกันโรคแคงเกอร์ + ราน้ำหมาก
ให้ปุ๋ยโยกหลังทางใบ นกเงือกแดง 40 กรัม ผสมน้ำ 20 ลิตร หากฝนตก
ให้ใช้ ปุ๋ยทางใบ สูตร 0-52-34 100 กรัม ต่อ น้ำ 20 ลิตร พ่นหลังฝนตก ทันที
ภาคใต้ มีฝนตก ให้หาแกลบดิบ เพื่อดูดความชื้นจากดิน ต้นละ 2 กิโลกรัม
ประมาณ 26 พฤศจิกายน งดน้ำทุกชนิด ใช้ คิลเลอร์บี พ่นป้องกันโรคแคงเกอร์ + ราน้ำหมาก
ให้ปุ๋ยโยกหลังทางใบ นกเงือกแดง 40 กรัม ผสมน้ำ 20 ลิตร หากฝนตก
ให้ใช้ ปุ๋ยทางใบ สูตร 0-52-34 100 กรัม ต่อ น้ำ 20 ลิตร พ่นหลังฝนตก ทันที
27 พฤศจิกายน เป็นต้นไป หาก ใบเริ่มแสดงอาการขาดน้ำ มีห่อเหี่ยวเล็กน้อย ให้ เปิดตาดอก ทันที
ปุ๋ยเปิดตาดอก 13-0-46 |
ขั้นตอนการเปิดตาดอก
- Day 1 ให้ น้ำ 100%
- Day 2 ให้ น้ำ 100%
- Day 3 ให้ น้ำ 90% และปุ๋ยทางใบสูตร 13-0-46 หนัก 100 กรัม ต่อ น้ำ 20 ลิตร
- Day 4 ให้ น้ำ 60%
- Day 5 ให้ น้ำ 60%
- Day 6 ให้ น้ำ 90% และปุ๋ยทางใบสูตร 13-0-46 หนัก 100 กรัม ต่อ น้ำ 20 ลิตร
อ่านเพิ่มเติม
วันอาทิตย์ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2560
ตารางปฏิบัติงาน มะนาวปลูกใหม่
ก่อนปลูกมะนาว ควรแช่งกิ่งมะนาว ใน Super C นาน 30 นาที
7-14 มกราคม เหมาะแก่การ ปลูกมะนาว หาก มีระบบน้ำดี
แนะนำ ปลูกมะนาวใหม่ตอนเย็น ใส่ ปูนขาว หรือ โดโลไมท์
ปรับ ความเป็นกรดด่าง ของดิน ใน ช่วง 6.0 - 7.0 เสริมด้วย
แกลบเผา หลุมละ 2 กำมือ ราดรองก้นหลุมและ จุ่ม ราก
มะนาว ด้วยเชื้อราไตรโครเดอร์ม่า ปกติ จะขุดหลุมลึกประมาณ
15 ถึง 30 เซนติเมตร กำลังดี อาจรองกินหลุมด้วย ยาฆ่าแมลง
แนะนำ สตาร์เกิ้ล จี ต้นละ 1 ช้อนชา รดน้ำทุกวัน นานติดต่อกัน 14 วัน
นับจากวันปลูกมะนาว พอมะนาว พอมะนาวแตกใบอ่อน ให้ ปุ๋ยทางดิน
ต้นละ 1 ถึง 2 ช้อนชา ทุก 7 วัน จนมะนาวมีอายุครบ 2 เดือน แนะนำสูตร
21-7-14 หรือ สูตร 22-7-18 ก็ถือว่าใช้ได้เลย
การรักษายอดใบอ่อนมะนาว จะทำเดือนละ 1 ครั้ง
เมื่อแตกใบอ่อนให้ พ่นยาฆ่าแมลทันที แนะนำ พ่น อิมิดาคลอพริด วันที่ 1
นับ ไป จนถึงวันที่ 4 พ่น คาราเต้ ต่อมา ในวันที่ 8 พ่น อิมิดาคลอพริด อีก
หากเวลา น้อย จะพ่น วันที่ 1 วันที่ 8 และ วันที่ 15 ก็ได้เช่นกัน โดย
วันที่ 1 พ่น อิมิดาคลอพริด
วันที่ 8 พ่น อะบาเม็กติน + อิมิดาคลอพริด
วันที่ 15 พ่น คาราเต้
สรุปในแต่ละเดือน จะพ่น ยาฆ่าแมลง แค่ 3 ครั้ง เท่านั้น ครับ
7-14 มกราคม เหมาะแก่การ ปลูกมะนาว หาก มีระบบน้ำดี
แนะนำ ปลูกมะนาวใหม่ตอนเย็น ใส่ ปูนขาว หรือ โดโลไมท์
ปรับ ความเป็นกรดด่าง ของดิน ใน ช่วง 6.0 - 7.0 เสริมด้วย
แกลบเผา หลุมละ 2 กำมือ ราดรองก้นหลุมและ จุ่ม ราก
มะนาว ด้วยเชื้อราไตรโครเดอร์ม่า ปกติ จะขุดหลุมลึกประมาณ
15 ถึง 30 เซนติเมตร กำลังดี อาจรองกินหลุมด้วย ยาฆ่าแมลง
แนะนำ สตาร์เกิ้ล จี ต้นละ 1 ช้อนชา รดน้ำทุกวัน นานติดต่อกัน 14 วัน
นับจากวันปลูกมะนาว พอมะนาว พอมะนาวแตกใบอ่อน ให้ ปุ๋ยทางดิน
ต้นละ 1 ถึง 2 ช้อนชา ทุก 7 วัน จนมะนาวมีอายุครบ 2 เดือน แนะนำสูตร
21-7-14 หรือ สูตร 22-7-18 ก็ถือว่าใช้ได้เลย
การรักษายอดใบอ่อนมะนาว จะทำเดือนละ 1 ครั้ง
เมื่อแตกใบอ่อนให้ พ่นยาฆ่าแมลทันที แนะนำ พ่น อิมิดาคลอพริด วันที่ 1
นับ ไป จนถึงวันที่ 4 พ่น คาราเต้ ต่อมา ในวันที่ 8 พ่น อิมิดาคลอพริด อีก
หากเวลา น้อย จะพ่น วันที่ 1 วันที่ 8 และ วันที่ 15 ก็ได้เช่นกัน โดย
วันที่ 1 พ่น อิมิดาคลอพริด
วันที่ 8 พ่น อะบาเม็กติน + อิมิดาคลอพริด
วันที่ 15 พ่น คาราเต้
สรุปในแต่ละเดือน จะพ่น ยาฆ่าแมลง แค่ 3 ครั้ง เท่านั้น ครับ
วันจันทร์ที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2560
การตัดแต่งกิ่งตอน 2
เมื่อ มีการสร้างลำต้นหลัก หรือ หน้าแข้ง แล้ว ขั้นต่อไป คือ สร้าง 3 กิ่ง หลัก
โดยแต่ละกิ่งทำมุม กัน 120 องศา และ ระยะห่าง แต่ละกิ่ง คือ 10 เซนติเมตร
หลักจากนั้น จึง แตก กิ่งรอง แต่ละ กิ่งหลัก ละ 2 กิ่ง สรุป คือ สร้าง 3 กิ่งหลัก
และ สร้าง 6 กิ่งรอง ที่แตกออกมา จากกิ่งหลัก 2 กิ่งนั้นเอง โดยต้องไว้ระยะ
กิ่งหลักสัก 30 เซนติมเตร จึงมี กิ่งรองแตกออก มา กิ่ง ละ 2 กิ่งรอง ต่อ 1 กิ่งหลัก
เหตุผล ในการ ให้กิ่งหลัก ทำมุม กัน 120 องศา เพื่อ สร้างสมดุลของกิ่ง ให้พอดี
คือ 3 กิ่งหลัก จะแตกออกเป็น 3 ทิศทาง อย่างสมดุลนั่นเอง ทำให้ โครงสร้างกิ่ง
แข็งแรงที่สุด เนื่องจากมีการกระจายแรง ที่เหมาะสม พอดีกัน ทั้ง 3 กิ่งหลักนั่นเอง
ส่วนระยะห่าง แต่ละกิ่งหลัก ควรห่าง อย่างน้อย 10 เซนติเมตร เพราะ ต้องการให้
กิ่งหลักมีระยะห่างไม่เบียดชิดกันมากเกินไป จน เกิดการเบียด บังแสงกัน นั่นเอง
และ กิ่งที่เกิดมา ไม่ควรเป็นกิ่งมุมแคบ เพราะ จะเกิดปัญหาเนื้อไม้ตาย เน่าได้
โดยแต่ละกิ่งทำมุม กัน 120 องศา และ ระยะห่าง แต่ละกิ่ง คือ 10 เซนติเมตร
หลักจากนั้น จึง แตก กิ่งรอง แต่ละ กิ่งหลัก ละ 2 กิ่ง สรุป คือ สร้าง 3 กิ่งหลัก
และ สร้าง 6 กิ่งรอง ที่แตกออกมา จากกิ่งหลัก 2 กิ่งนั้นเอง โดยต้องไว้ระยะ
กิ่งหลักสัก 30 เซนติมเตร จึงมี กิ่งรองแตกออก มา กิ่ง ละ 2 กิ่งรอง ต่อ 1 กิ่งหลัก
เหตุผล ในการ ให้กิ่งหลัก ทำมุม กัน 120 องศา เพื่อ สร้างสมดุลของกิ่ง ให้พอดี
คือ 3 กิ่งหลัก จะแตกออกเป็น 3 ทิศทาง อย่างสมดุลนั่นเอง ทำให้ โครงสร้างกิ่ง
แข็งแรงที่สุด เนื่องจากมีการกระจายแรง ที่เหมาะสม พอดีกัน ทั้ง 3 กิ่งหลักนั่นเอง
ส่วนระยะห่าง แต่ละกิ่งหลัก ควรห่าง อย่างน้อย 10 เซนติเมตร เพราะ ต้องการให้
กิ่งหลักมีระยะห่างไม่เบียดชิดกันมากเกินไป จน เกิดการเบียด บังแสงกัน นั่นเอง
และ กิ่งที่เกิดมา ไม่ควรเป็นกิ่งมุมแคบ เพราะ จะเกิดปัญหาเนื้อไม้ตาย เน่าได้
วันอาทิตย์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2560
การป้องกันโรคที่พบบ่อยในมะนาว
โรคที่พบบ่อย ใน มะนาว ที่สำคัญได้แก่
1 โรคแคงเกอร์
2 โรครากเน่า โคนเน่า
3 โรคราน้ำหมาก
4 โรคขี้กลาก Scab
5 โรคขาดธาตุอาหาร
ผม เภสัชเอก ขอ สรุป แนวทางการป้องกันโรคดังนี้
แคงเกอร์ ใน มะกรูด |
1 โรคแคงเกอร์ คือ โรคจากเชื้อแบคทีเรีย ทำลายใบ กิ่ง และ ผลมะนาว เสียหาย
การป้องกัน ใช้กิ่งพันธุ์ปลอดโรค และ แช่กิ่งพันธุ์ในน้ำยาฆ่าเชื้อ แนะนำ Super C นาน 30 นาที
รวมโรคแคงเกอร์ |
อาจพ่นยาป้องกันโรคโดย ใช้ Killer B หรือ Nano Zinc พ่นป้องกันโรคแคงเกอร์ ปีละ 4 ครั้ง
ใน ปลายเดือนมีนาคม ปลายเมษายน ต้น กรกฏาคม และ ต้นกันยายน ของทุกปี และ ตัดแต่ง กิ่งใบ
ให้ โปร่ง ไม่แน่นทึบ แสงเข้าได้ปีละ 2 ครั้ง
2 โรครากเน่า โคนเน่า เกิดจากเชื้อราหลายชนิด หรือ อาจเกิดจากน้ำท่วมขัง จนรากเน่า
เครื่องวัด pH |
การป้องกัน ปลูกมะนาวยกร่องลูกฟูงสูง 50 ถึง 60 เซนติเมตร เพื่อ ป้องกันน้ำท่วมขั
จุ่มรากมะนาวในเชื้อไตรโครเดอร์ม่า ก่อนปลูก และ เติม เชื้อไตรโครเดอร์ม่า ลงดิน
หัวเชื้อไตรโครเดอร์ม่า |
ปีละ 3 ครั้ง ผสมกับ เติมเชื้อแบคทีเรีย Killer B ลงดินรอบทรงพุ่มปีละ 2 ครั้ง
สุดท้าย ปรับ pH ดิน ให้ได้ ประมาณ 6.0 - 7.0 โดย ต้อง ตรวจสอบ สภาพดินอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
ปูนขาวแก้ดินเป็นกรด |
3 โรคราน้ำหมาก หรือ เมลาโนส เกิดจากเชื้อรา ทำให้ ใบ กิ่ง และ ผลมะนาวมีคราบดำ น่าเกลียด
Super C ฆ่าเชื้อทุกชนิด |
การป้องกัน ตัดแต่ง กิ่งใบ ให้ โปร่ง ไม่แน่นทึบ แสงเข้าได้ปีละ 2 ครั้ง และพ่นยา
ราน้ำหมาก เมลาโนส |
Super C หรือ Nano Zinc ป้องกันราน้ำหมาก ใน ต้นเดือน มิถุนายน และ พฤศจิกายน ของทุกปี
ราน้ำหมาก |
4 โรคขี้กลาก Scab เกิดจากเชื้อรา ทำให้ใบ และผล มี ตุ่มนูนสีน้ำตาล ชาวสวนหลายคน เข้าใจผิด
ว่า เป็นโรคแคงกอร์ แต่ไม่ใช่ เพราะลักษณะจะต่างกันชัดเจน การป้องกัน ตัดแต่ง กิ่งใบ ให้
โรคขี้กลาก Scab |
โปร่ง ไม่แน่นทึบ แสงเข้าได้ปีละ 2 ครั้ง และพ่นยา Super C หรือ Nano Zinc ป้องกัน
โรคขี้กลาก ใน ต้นเดือน มิถุนายน และ พฤศจิกายน ของทุกปี
โรคแคงเกอร์ |
5 โรคขาดธาตุอาหาร จะพบในธาตุหลายชนิด ได้แก่ N Mg Zn Ca B Fe และ Mn
ขาดไนโตรเจน |
ทำให้การเจริญเติบโตมีปัญหา รุนแรง ส่งผลต่อการออกดอก ติดผล ของมะนาว
ขาดสังกะสี |
การป้องกัน ปรับ pH ดิน ให้ได้ ประมาณ 6.0 - 7.0 โดย ต้อง ตรวจสอบ สภาพดิน
ขาดฟอสฟอรัส |
อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง และ ให้ ธาตุอาหาร รวม ทางใบปีละ 4 ครั้ง และ ควรให้ ปุ๋ยทางใบ
ขาดธาตุเหล็ก |
สูตร โยกหน้า อย่างน้อยปีละ 6 ครั้ง และสุดท้าย ต้องตรวจวิเคราะห์ดิน ปีละ 1 ครั้ง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)