วันพฤหัสบดีที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

เคล็ดวิชา รักษาโรคแคงเกอร์ ใน มะนาวให้หายขาด ตอนที่ 1

เคล็ดวิชา รักษาโรคแคงเกอร์

เนื้อหา ประกอบด้วย

  • พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับโรคแคงเกอร์และแบคทีเรีย
  • หลักการปฏิบัติในการรักษาโรคแคงเกอร์
  • เคล็ดวิชาการรักษาแคงเกอร์แบบเภสัชเอก
  • ตัวอย่าง การรักษาโรคแคงเกอร์แบบเภสัชเอก
  • คำถามทดสอบความเข้าใจผู้เรียน
                โรคแคงเกอร์นั้นมีสาเหตุมาจากเชื้อแบคทีเรีย ที่มีชื่อว่า Xanthomonas axonopodi. pv citri. กล่าวแบบสั้นๆ ก็คือ โรคแคงเกอร์ สาเหตุมาจากเชื้อแบคทีเรียนั่นเอง โรคแคงเกอร์นั้นจะระบาดมากเมื่อมีความชื้นสูง กระแสลมแรง และ หนอนชอนใบเข้าทำลายใบมะนาว หรือ ใบส้ม จะทำให้โรคแคงเกอร์ระบาดมากขึ้น การกำจัดโรคแคงเกอร์เริ่ม จากการตัดกิ่งใบที่เป็นโรคทิ้งไปให้มากที่สุด   โรคแคงเกอร์ มัก พบกับ มะนาว มะกรูด ส้ม  โดยเฉพาะ มะนาวแป้นรำไพ ที่ เป็นมะนาวที่แม่ค้าในตลาด นิยมมากที่สุด เป็น โรคแคงเกอร์ บ่อยมาก  นอกจากนี้ มะนาวแป้นพวง มะนาวแป้นจริยา ก็ อ่อนแอต่อโรคแคงเกอร์  ส่วนมะนาวแป้นพิจิตร กับ มะนาวตาฮิติ ทนต่อโรคแคงเกอร์ดีพอสมควร โรคนี้มักพบที่ใบจะมีรอยโรคเป็นจุดสีน้ำตาล และอาจเกิดแผลที่ใบอาจมีรอยแตกร้าว 


พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับโรคแคงเกอร์และแบคทีเรีย
  1. หลีกเลี่ยงสารเคมี หรือ ยาปฏิชีวนะ หากจำเป็นให้ใช้ สารเคมี ให้น้อยที่สุด
  2. ต้องกำจัดใบ และ กิ่งที่ติดโรคแคงเกอร์ ออกไป เผาทำลายให้มากที่สุด
  3. ใช้แบคทีเรีย บาซิลลัส ซับทิลิส (Bacillus subtilis)  ในการรักษาโรคแคงเกอร์                              และโรครากเน่าโคนแน่า
  4. บาซิลลัส ซับทิลิส (Bacillus subtilis) ต้องถูกเพาะเลี้ยงด้วยอาหาร ให้เติบโต ขยายพันธุ์ก่อน
  5. บาซิลลัส ซับทิลิส (Bacillus subtilis) ชอบน้ำตาล นม กลูโคส oxygen 
  6. ควรฉีดพ่น บาซิลลัส ซับทิลิส (Bacillus subtilis) ในตอนเย็น 
  7. ไม่ควรให้น้ำที่มีคลอรีนผสมอยู่  เคล็ดวิชา รักษาโรคแคงเกอร์
  8. บาซิลลัส ซับทิลิส (Bacillus subtilis) ชอบกินอาหาร พวกนม และถั่วเหลือง
  9. เราให้แบคทีเรีย บาซิลลัส ซับทิลิส (Bacillus subtilis) ในการรักษาโรคแคงเกอร์
  10. บาซิลลัส ซับทิลิส (Bacillus subtilis) ต้องการอากาศ ที่มีออกซิเจน
  11. แบคทีเรียก่อโรคแคงเกอร์ Xanthomonas axonopodi. pv citri.จะโจมตี พืชเมื่อมีความชื้น และบาดแผลที่ กิ่ง ก้าน และ ใบ
  12. แบคทีเรียก่อโรคแคงเกอร์ Xanthomonas axonopodi. pv citri. ชอบอยู่ในกิ่งมะนาว และอยู่ได้นานในกิ่งมะนาวเป็นเวลาหลายปี
  13. แบคทีเรียก่อโรคแคงเกอร์ Xanthomonas axonopodi. pv citri. อยู่ในดินได้นาน 10 วัน
  14. แบคทีเรีย บาซิลลัส ซับทิลิส (Bacillus subtilis) ตายยาก เพราะ สร้างสปอร์ได้ อยู่ในดิน นานหลายสิบปี เคล็ดวิชา รักษาโรคแคงเกอร์
  15. แบคทีเรีย บาซิลลัส ซับทิลิส (Bacillus subtilis) ไม่ก่อโรคในพืช หรือ เป็นอันตราย ต่อ มนุษย์
  16. แบคทีเรีย บาซิลลัส ซับทิลิส (Bacillus subtilis) อยู่ในอาหาร ใน ขนมถั่วเหม็น  และ เต้าฮู้ญี่ปุ่น
  17. แบคทีเรีย บาซิลลัส ซับทิลิส (Bacillus subtilis) มี หลายร้อยสายพันธุ์
  18. แบคทีเรีย บาซิลลัส ซับทิลิส (Bacillus subtilis) มีงานวิจัย หลายชิ้น ที่ยืนยัน ว่า กำจัด แบคทีเรียก่อโรคแคงเกอร์ Xanthomonas axonopodi. pv citri. ได้
  19. สารเคมี ที่กำจัด แบคทีเรียก่อโรคแคงเกอร์ Xanthomonas axonopodi. pv citri. ใน ท้องตลาด หลักๆ มีอยู่ 2 ชนิด คือ ยากลุ่ม คอปเปอร์ และ สเตรปโตมัยซิน
  20. ยา หรือ สารเคมี ใช้แล้ว จะค่อยๆ หมดใบ แต่ แบคทีเรีย บาซิลลัส ซับทิลิส (Bacillus subtilis) เติบโตได้ ขยายพันธุ์ได้  อยู่ในมะนาวได้นาน หลายปี
  21. แบคทีเรีย บาซิลลัส ซับทิลิส (Bacillus subtilis) สร้าง สารปฏิชีวนะ ที่ฆ่าเชื้อ โรคแคงเกอร์ Xanthomonas axonopodi. pv citri. ได้
  22. แบคทีเรีย บาซิลลัส ซับทิลิส (Bacillus subtilis) สร้าง สารปฏิชีวนะ ที่ฆ่าเชื้อรา ก่อโรครากเน่าได้ คือ เชื้อรากลุ่มไฟท็อปเทอร่า 
เคล็ดวิชา รักษาโรคแคงเกอร์


ผมหาความรู้และ ทำการทดลองอย่างไรจึงแน่ใจว่ารักษาโรคแคงเกอร์ได้
  • โรคแคงเกอร์ ภาษาอังกฤษ คือ citrus canker ผมอ่าน หาข้อมูล เพิ่ม จาก google
  • ผมพบว่า โรคแคงเกอร์( citrus canker )  เกิดจาก แบคทีเรีย Xanthomonas axonopodi. pv citri.
  • ผม หาเอกสารทางวิชาการที่ น่าเชื่อถือ มาอ่านเพิ่ม
  • ผมทดลอง นำ แบคทีเรีย บาซิลลัส ซับทิลิส (Bacillus subtilis) ในมะนาวของผม
  • โดยผม ต้องปรุง น้ำกระสายบยา หรือ สารที่ใช้เพาะขยายเชื้อ บาซิลลัส ซับทิลิส
  • ผมพัฒนาเทคนิค การพ่น การผสม การเพาะขยายเชื้อ บาซิลลัส ซับทิลิส
  • ผมทดสอบ วิธีัการทั้งหมด ( การพ่น การผสม การเพาะขยายเชื้อ) ว่า รักษาโรคแคงเกอร์ในมะนาวได้หรือไม่
  • ผมทดลองซ้ำอีก 5 ครั้ง ในมะนาวแป้นรำไพ แป้นพวง มะนาวน้อย แป้นดกพิเศษ พบว่า แบคทีเรีย บาซิลลัส ซับทิลิส (Bacillus subtilis) รักษาโรคแคงเกอร์ได้จริง
  • ผมติดตาม ต่ออีก 8 เดือน ไม่พบการระบาดซ้ำ ของโรคแคงเกอร์ในมะนาว
  • ผมสรุปว่า วิธีการรักษาโรคแคงเกอร์โดยใช้ บาซิลลัส ซับทิลิส แบบเภสัชเอกได้ผลดีมาก
ข้อมูล ของ แบคทีเรียก่อโรคแคงเกอร์ Xanthomonas axonopodi. pv citri.


Species Name:   Xanthomonas axonopodis citri
Common Name:               Citrus Canker

I.  TAXONOMY

Kingdom Phylum/Division: Class: Order: Family: Genus:
Bacteria Proteobacteria Gamma Proteobacteria Xanthomonadales Xanthomonadaceae Xanthomonas

เคล็ดวิชา รักษาโรคแคงเกอร์

Citrus tree leaves showing evidence of citrus canker, the result of infection by the non-native bacterial pathogen Xanthomonas axonopodis pv. citri. Photograph courtesy USDA/ARS.
  

Citrus canker infection is evident on this fruit. Photograph courtesy USDA/APHIS. Photographer R. Anson Eaglin.

Species Name:  
Xanthomonas axonopodis pv. citri

Common Name:
Citrus Canker

Synonymy:
Xanthomonas axonopodis Hasse, 1915
Xanthomonas campestris pv. citri Dye
Xanthomonas citri ex Hasse

เคล็ดวิชา รักษาโรคแคงเกอร์

Species Description:
Citrus canker is a disease of cultivated citrus plants caused by nonindigenous bacterial pathogen Xanthomonas axonopodis pv. citri ('Xac'). 

Genus Xanthomonas consists of gram-negative, rod-shaped, polarly-flagellated bacteria whose members commonly occur as serious plant pathogens. Colonies are typically yellow in color due to the presence of a particular carotenoid pigment identified through relatively simple screening procedures and generally indicative of the genus (Starr and Stephens 1964).

ข้อมูลโรคแคงเกอร์ จากองค์กรระดับโลก

http://www.apsnet.org/edcenter/intropp/lessons/prokaryotes/Pages/CitrusCanker.aspx
Citrus canker
Gottwald, T.R. 2000. Citrus canker. The Plant Health Instructor. DOI: 10.1094/PHI-I-2000-1002-01
Updated 2005.

DISEASE: Citrus canker

PATHOGEN: Xanthomonas axonopodis pv. citri and Xanthomonas axonopodis pv. aurantifolii

HOSTS: Numerous species, cultivars, and hybrids of citrus and citrus relatives including orange, grapefruit, pummelo, mandarin, lemon, lime, tangerine, tangelo, sour orange, rough lemon, calamondin, trifoliate orange, and kumquat.

Authors
Tim R. Gottwald, USDA, ARS, Orlando, Florida
James H. Graham, University of Florida, Lake Alfred, Florida


Canker infected fruit, foliage, and stems.
(Courtesy T.R. Gottwald, copyright-free)

Symptoms and Signs
Citrus canker can be a serious disease where rainfall and warm temperatures are frequent during periods of shoot emergence and early fruit development. This is especially the case where tropical storms are prevalent. Citrus canker is mostly a leaf-spotting and fruit rind-blemishing disease, but when conditions are highly favorable for infection, infections cause defoliation (Figure 2), shoot dieback, and fruit drop.


Figure 2

Leaf Lesions: Citrus canker lesions start as pinpoint spots and attain a maximum size of 2 to 10 mm diameter (Figure 3). The eventual size of the lesions depends mainly on the age of the host tissue at the time of infection and on the citrus cultivar. Lesions become visible about 7 to 10 days after infection on the underside of leaves and soon thereafter on the upper surface. The young lesions are raised or ‘pustular’ on both surfaces of the leaf, but particularly on the lower leaf surface (Figure 4). The pustules eventually become corky and crateriform with a raised margin and sunken center. A characteristic symptom of the disease on leaves is the yellow halo that surrounds lesions (Figure 5). A more reliable diagnostic symptom of citrus canker is the water-soaked margin that develops around the necrotic tissue (Figure 6), which is easily detected with transmitted light.


Figure 3
Figure 4

Figure 5
Figure 6

Fruit and Stem Lesions: Citrus canker lesions on fruit (Figure 7) and stems (Figure 8) extend to 1 mm in depth, and are superficially similar to those on leaves. On fruit, the lesions can vary in size because the rind is susceptible for a longer time than for leaves and more than one infection cycle can occur (Figure 9). Infection of fruit may cause premature fruit drop but if the fruit remain on the tree until maturity such fruit have reduced fresh fruit marketability. Usually the internal quality of fruit is not affected, but occasionally individual lesions penetrate the rind deeply enough to expose the interior of the fruit to secondary infection by decay organisms (Figure 10). On stems, lesions can remain viable for several seasons. Thus, stem lesions can support long-term survival of the bacteria

เอกสารแสดงกลไกการติดเชื้อโรคแคงเกอร์ในพืช

http://www.formatex.info/microbiology2/196-204.pdf

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น